กระทรวงพลังงานร่วมกับสถาบันพลังงานมช 2538 ถึงปัจจุบันรวม 19 ปีสามารถผลิตก๊าซชีวภาพได้มากกว่า 835 ล้านลบ. มผลิตเป็นไฟฟ้าให้ประเทศได้มากถึง 1,169 4,094 ล้านบาท
นายเสมอใจศุขสุเมฆ (สนพ. ) กระทรวงพลังงานเปิดเผยว่าตามที่ ได้ให้การสนับสนุน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยเริ่มโครงการนำร่องตั้งแต่ปี 2538 จนถึงปัจจุบันรวมระยะเวลา 19 ปี สมัครเข้าร่วมโครงการเป็นจำนวนมากถึง 1,140 แห่งซึ่งประสบความสำเร็จเป็นอย่างมากจากผลการดำเนินงานที่ผ่านมาสามารถผลิตก๊าซชีวภาพได้มากกว่า 835 ล้านลบ. ม. สามารถนำไปผลิตไฟฟ้าได้มากถึง 1,169 ล้านหน่วยคิดเป็นเงิน มูลค่ามากกว่า 4,094 ล้านบาท
“สนพ ทั้งนำมาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า (ก๊าซมีเทนทางชีวภาพอัดก๊าซ CBG) ซึ่งมีคุณภาพเทียบเท่า NGV สามารถนำไปใช้เติมในรถยนต์ได้ดี นอกจากนี้ยังใช้ทดแทนก๊าซหุงต้ม (LPG) ในหมู่บ้านต่างๆด้วยการส่งก๊าซชีวภาพผ่านไปตามท่อพีวีซี แอลพีจีได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นล่าสุด ก๊าซหุงต้ม หมู่บ้านโรงวัวอ. สันป่าตองจ. เชียงใหม่นำไปใช้ในครัวเรือน ก๊าซหุงต้ม
จะเห็นได้ว่าพลังงานก๊าซชีวภาพ และใช้ทดแทนพลังงานต่างๆในประเทศได้มากมายที่สำคัญเป็นพลังงานที่สะอาดช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมเพราะวัตถุดิบเป็นของเสียหรือของเหลือใช้ทางการเกษตรรวมถึงพืชพลังงาน ผอ. สนพ. กล่าว
ด้านรศ. ประเสริฐฤกษ์เกรียงไกร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (สถาบันพลังงานมช.) กล่าวว่าสถาบันฯ นักวิชาการนักวิจัยวิศวกรและผู้ที่สนใจได้เรียนรู้ ทั้งในภาคครัวเรือนภาคเกษตรกรรมและภาคอุตสาหกรรม
4 ปี 2551-2557 มีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 256 แห่ง 245364 จำนวน 2044700 ตัวสามารถผลิตก๊าซชีวภาพได้ 68 ล้านลบ. ม. / ปีทดแทนก๊าซแอลพีจีได้จำนวน 1 ล้านกก. / ปีและน้ำมันเตาเกรดเอ 28,401 ลิตร / ปีและผลิตไฟฟ้าได้ 90 ล้านหน่วย / ปี 1,423 ตันคาร์บอน / วันหรือ 519,456 ตันคาร์บอน / ปีทั้งนี้สถาบันฯ รศ. ประเสริฐกล่าว
…………………………………………